บริการตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน

           ดำเนินตามหลักวิชาการด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม โดยการสำรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานเบื้องต้นเพื่อค้นหาสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กำหนดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์ ประเมินผลเปรียบเทียบกับมาตรฐานตามคำแนะนำของสถาบันหรือองค์กรที่เป็นที่ยอมรับ จัดทำรายงานให้ข้อคิดเห็น และเสนอแนะเพื่อการป้องกันควบคุมต่อไป

การตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในสถานประกอบกิจการ

1. ความร้อนสภาพความร้อน  (Heat  Stress  Index)  โดยวัดค่า  WBGT  ต่อจุด

 

 

2. แสงสว่าง  ณ  จุดที่ทำงาน 2. ความเข้มของแสงสว่าง  

  • แสงสว่างเฉลี่ยบริเวณและพื้นที่
  • แสงสว่าง  Contrast  แสงสว่างที่หน้างานและบริเวณโดยรอบ  ต่อจุดเสียง

3. ระดับเสียงแบบพื้นที่ (Leq 5 นาที) ต่อจุด (Sound  Pressure  Level)

  • ระดับเสียงแบบพื้นที่ (แยกความถี่) ต่อจุด (Sound Pressure  Level  and  Octave  Band  Analyzer)  )
  • ระดับเสียงดังเฉลี่ยตลอดการทำงาน  8  ชั่วโมง  (Leq 8 hr)  ต่อจุด
  • ระดับเสียงดังสะสมที่ตัวบุคคล  (Nose  Dose)  ต่อตัวอย่าง

4. ฝุ่น

  • ปริมาณความเข้มข้นฝุ่นรวม  (Total  Dust)  เฉลี่ยตลอดการทำงานต่อพารามิเตอร์ 
  • ปริมาณความเข้มข้นฝุ่นขนาดเล็กหายใจถึงระบบทางเดินหายใจส่วนปลาย  (Respirable  dust) เฉลี่ยตลอดการทำงานต่อพารามิเตอร์ 

5. สารเคมี

  • ปริมาณความเข้มข้นของฝุ่นสารพิษ (Toxic dust) โลหะหนัก และฟูมโลหะ
  • เฉลี่ยตลอดการทำงานต่อพารามิเตอร์
  • ปริมาณความเข้มข้นของก๊าซ / ไอระเหยอินทรีย์ , ไอกรด  เฉลี่ยตลอดการทำงานต่อพารามิเตอร์

การตรวจวัดและประเมินคุณภาพอากาศในปล่องระบายอากาศ

  • ปริมาณความเข้มข้นของฝุ่นละออง ตามมาตรฐาน US EPA Method 5
  • ปริมาณความเข้มข้นของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ตามมาตรฐาน US EPA Method 6
  • ปริมาณความเข้มข้นของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ US EPA Method 7
  • ปริมาณความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ US EPA Method 10
  • ปริมาณความเข้มข้นของสาร Organic Vapor
  • ปริมาณความเข้มข้นของสารโลหะหนักที่ออกจากปล่องระบาย
  • ความทึบแสง Opacity